วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

principal

งานชิ้นที่จะสื่อ ออก มาเพื่อที่จะให้ กำลังใจกับ
เด็กที่เรียนไม่เก่ง และไม่ค่อยตั้งใจเรียน ว่า
ถ้าพวกเขาพยายาม เขาก็สามารถทำๆ ได้
มันเริ่มจาก ความผิดหวังใน ช่วงกลาง
และ พอพวกเขาเริ่มที่จะพยายามมันมากขึ้น
ความสำเร็จก็ยิ่งไกล้ตัวเขามากขึ้น อยากให้
ดูแล้วรู้สึกถึง .....

คำว่าพูดที่ว่า

ความพยายามอยู่ที่ไหน
ความสำเร้จย่อมอยู่ที่นั้น

วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

งาน final

พอได้ดูทั้งสองเรื่องเรียบร้องแล้ว
เลยตัดสินใจที่จาลองตัดดูทั้งสองเรื่อง
แล้วมาดูกันมาว่าอันไหนจาได้เรื่อง
ได้ราวกว่า แต่กว่าจาตัดจา หนัง 2ชั่วโมง
ให้ลดลงมาเหลือ 10กว่า นาที ก็ทำเอา
แทบจาไม่ได้นอนไปหลายวัน ก็ลงเอา
มันมาปะติด ปะต่อ กัน แล้วลองดู สิ่งที่เกิดขึ้น
แล้วก็ลองแก้ใหม่อีก หลายครั้ง แต่ก็ยังไม่ดี
แก่ไปเรื่อยๆๆๆ เดี๋ยวคง จะดีเอง ละมั้ง
ส่วน เรื่อง อิมเพิสสิเบิลเวฟ ตัดออกมาแล้ว
ดูไม่รู้เรื่องเลย แหะ ๆๆๆ ยากชะมัด ส่งใส่
ต้องลองทำเยอะ ๆๆ กว่านี้
ละมั้ง นะ

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

ทามไรดี....



หัวข้อ DEconstruction จะนำหนังสักเรื่องมาแยกมันออกและนำมาร่วม
ใหม่ใหม้เป็นเรื่องใหม่ แต่ยังไม่รู้ว่าจาใช้หนังแบบไหนดี เลยลองเช่ามาดู ไปเรื่อย
จนอยากจะทำอยู่สองเรือง คือ อิมเพิสสิเบิ้ลเวฟ กับ ไฟน้อลสกอ ที่เป็นหนังสารคดี
โดยถ้าทำไฟน้อลสกอ ก็คงจาโยงเรื่องให้ดูรู้เรื่องได้ง่ายกว่า แต่ถ้าเป็น อิมเพิสสิเบิ้ลเวฟ
อาจจะตัดเป็นช่วงสั่นๆ อาจจะดูไม่รู้เรื่อง เลยลองทำดูสองเรื่อง ตอนแรกก็ตันไม่ได้ เลยดู
ซำไปอีก 2รอบ จะได้จำเนื้อเรื่อง ได้ เคิดจะทำเป็นแบบแปลก แต่ก็ต้องลองดู

Deconstruction




มีคำบางคำซึ่งเป็นศัตรูตัวฉกาจของตัวมันเอง. คำว่า Deconstruction
ก็เป็นอีกคำหนึ่งที่ตกอยู่ในสภาพเช่นนั้น(หมายเหตุ : ีผู้เรียบเรียงแปลคำนี้ว่า"การรื้อโครงสร้าง").
เหมือนกับคำว่า Existentialism, special, liberal, conservative และคำว่า
postmodern, คำต่างๆเหล่านี้ ความหมายของตัวมันเอง บ่อยครั้ง ค่อนข้างที่จะคลุมเครือจนใช้การไม่ได้.

สำหรับการประดิษฐ์คิดคำว่า deconstruction ขึ้นมาโดยปรัชญาเมธีร่วมสมัยชาวฝรั่งเศส
Jacques Derrida เริ่มชีวิตของตัวมันเองขึ้นมาในช่วงปลายทศวรรษที่ 60, แต่มันได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่ง
ของศัพท์บัญญัติอเมริกัน ในช่วงสิบปีให้หลังมานี้เอง หรือน้อยกว่านั้น. อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลาดังกล่าว
มันได้เคลื่อนคล้อยตัวมันเองจากศัพท์ทางเทคนิคด้านปรัชญา และถูกนำไปใช้โดยบรรดานักวิจารณ์ทางวรรณกรรม
ในลักษณะที่สัมพันธ์กับคำๆนี้ ซึ่งผุดขึ้นมาอย่างที่ไม่เคยคาดคิดมาก่อน นอกจากนี้ คำดังกล่าวยังถูกนำเอาไปใช้กว้าง
ไกลออกไป นับตั้งแต่บรรดานักพฤกษศาสตร์ไปจนกระทั่งถึงพวกพระ. ความหมายแต่เดิมของมันไม่ว่าจะหมายความว่า
อะไรก็ตาม แต่พอมาถึงณ ปัจจุบันนี้ ซึ่งได้มีการนำไปใช้กันอย่างกว้างขวาง จนกระทั่งคำว่า deconstruction
ได้กลายมามีความหมายว่า"การฉีกทึ้ง-การรื้อ" หรือ"การทำลาย"
(ปกติแล้ว ใช้กับสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ[the object is nonmaterial]).