วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

สัดส่วน

สัดส่วน
ได้ความคิดมาจากงาน ใน international style โดยที่ศิลปินแต่ละคน จะมีความหลากหลายในการวาง typo ภาพประกอบหรือ แม้กระทั้ง รูปสามเหลียม สี่เหลียม วงกลม แต่ละงานก็จะเป็น สัดส่วนที่นักออก
แบบกำหนดไว้ ไม่ว่าจะใช้หลักไดไดก็ตาม


สัดส่วน ประเภทต่าง ๆ

- สัดส่วน ทางคณิตศาสตร์

- สัดส่วนที่เป็นมาตรฐาน
จากรูปลักษณะตามธรรมชาต ของ คน สัตว์ พืช ซึ่งโดยทั่วไป ถือว่า สัดส่วนตามธรรมชาติ จะมีความงามที่เหมาะสมที่สุด หรือจากรูปลักษณะที่เป็นการ สร้างสรรค์ของมนุษย์ เช่น Gold section เป็นกฎในการสร้างสรรค์รูปทรงของกรีก ซึ่งถือว่า "ส่วนเล็กสัมพันธ์กับส่วนที่ใหญ่กว่า ส่วนที่ใหญ่กว่าสัมพันธ์กับส่วนรวม" ทำให้สิ่งต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นมีสัดส่วนที่สัมพันธ์กับทุกสิ่งอย่างลงตัว

- สัดส่วนจากความรู้สึก
โดยที่ศิลปะนั้นไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อความงามของรูปทรงเพียง อย่างเดียว แต่ยังสร้างขึ้นเพื่อแสดงออกถึง เนื้อหา เรื่องราว ความรู้สึกด้วย สัดส่วนจะช่วย เน้นอารมณ์ ความรู้สึก ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ และเรื่องราวที่ศิลปินต้องการ ลักษณะเช่น นี้ ทำให้งานศิลปะของชนชาติต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากมีเรื่องราว อารมณ์ และ ความรู้สึกที่ต้องการแสดงออกต่าง ๆ กันไป เช่น กรีก นิยมในความงามตามธรรมชาติเป็น อุดมคติ เน้นความงามที่เกิดจากการประสานกลมกลืนของรูปทรง จึงแสดงถึงความเหมือน จริงตามธรรมชาติ ส่วนศิลปะแอฟริกันดั้งเดิม เน้นที่ความรู้สึกทางวิญญานที่น่ากลัว ดังนั้น รูปลักษณะจึงมีสัดส่วนที่ผิดแผกแตกต่างไปจากธรรมชาติทั่วไป

อันนีเป็นสัดส่วนที่สนใจ

- สัดส่วนสัมพันธ์
ตัวอย่าง เช่น 2 รอบนิ้วหัวแม่มือ เท่ากับ 1 รอบข้อมือ
2 รอบข้อมือ เท่ากับ 1 รอบคอ
2 รอบคอ เท่ากับ 1 รอบเอว

- สัดส่วนลำดับเลข (Fibonacci number )
ลำดับเลข ฟีโบนักชี (Fibonacci numbers) เป็นลำดับเลขที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแบบหนึ่งในประวัติศาสตร์ ซึ่งถูกคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชาวอิตาเลียนชื่อ เลโอนาร์โด ฟีโบนักชี (Leonardo Fibonacci) แห่งเมื่องปิซา เมื่อศตวรรษที่สิบสาม เลขฟีโบนักชีสามารถเขียนเป็นอนุกรมได้ดังนี้คือ

1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89, x, y, x+y, …
(ตัวเลขตำแหน่งที่ n เท่ากับ ตัวเลขตำแหน่งที่ n-1 บวกกับตัวเลขตำแหน่งที่ n-2, หรือ Xn = Xn-1 + Xn-2)





ความยาวของกระดูกนิ้วมือแต่ละข้อจะมีอัตราส่วนเรียงตามลำดับเลขฟีโบนักชี





แผนผังของก้นหอยมีมีค่าพื้นที่เป็นแบบ ฟีโบนักชี 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34




























วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

ผลงาน Josef Muller Brockmann

1950 เป็นการใช้ภาพประกอบจัด Typography เป็นโปสเตอร์ของ Zurich Kunstgewerbe musem เป็นการใช้ภาพประกอบกับการจัด Typo
1951 Zurich Concert Hall Poster ใช้เทคนิคการปริ้นสีดำและพื้นนกลังเป็นสีครีม (Lino cut) เป็นโปสเตอร์ในปี 1951






1952 Zurich Concert Hall Poster ในปีถัดมาใช้เทคนิค (Lino block) ในการพิมพ์ตัวหนังสือและโปสเตอร์แบบนี้ยังใช้ในงานนี้มาตลอดจนถึงปี 1954 แต่เพียงแค่เปลี่ยนการจัดวางและสีมาตลอดทุกปีจน 1954


1952 Zurich Concert Hall Poster for piano อันนี้เป็นงาน piano ในปีเดียวกัน Muller มีแรงบรรดาลใจในการทำงานชิ้นนี้มาจาก คีบอร์ด เปียโน


1953 งานนี้เป็นโปสเตอร์จของ Kanstgewerbe Musem ใช้เทคนิคการ Light Brockmann ทำโปสเตอร์งานนี้ร่วมกับศิลปินคนอื่นในงาน The International Poster Exhibition






1955 Zurich Concert Hall Poster ในปี 1955 ซึ่งเพิ่งมาเปลี่ยนหลังจากที่ใช้แบบเดิมมา 3 ปี ใช้เทคนิค Text รวมกับ Abstract from แต่เขาก็ยังยืนยันว่าไม่ใช่ภาพประกอบ







วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

International style

International style คืออะไร

เป็นที่รู้จักกันดีในรูปแบบของ swiss style เป็นงานที่ถูกพัฒนาขึ้นจากประเทศ Swisszerland งานส่วนใหญ่จะเน้นความสะอาด เกิดจากรูปทรง ใช้กริต และ ป็นงาน ที่ใช้ รูปทรงเลขาคณิต และ typo เป็นหลัก ผลงานส่วนใหญ่จะอยู่ใน ซูริก ประเทศ Swisszerland

Josef Muller - Brockman

เกิดเมื่อวันที่ 9 พ.ค. 1914 และได้เสียชีวิตในวันที 30 ส.ค. 1996 เขาเป็นทั้งนักออกแบบ และ เป็นครูสอน
ออกแบบด้วย เขาเรียนเกียวกับ Architecture Design และ History of Art เขาจบจากที่ Kunstgewerbes chule ในซูริก งานของเขาจะนำสิ่งที่เขาเรียนเกียวกับโครงสร้างโดยนำมาใช้ เป็นหลักในการจัด typo หรือที่รู้กานในการใช้ กริต

ปี 1936 Brockman ได้เปิด ซูริกสตูดิโอ โดยเฉพาะ Graphic Design ,Exhibision Design,
Photo Graphic
ปี 1951 Brockman ได้ทำโปรสเตอร์ให้กับ Tonhalle ใน ซูริก
ปี 1958 Brockman เป็นที่ปรึกษาในเรื่อง New Graphic Design โดยร่วมกับ RP Lohsp,
Vivarelli,Neuberg
ปี 1961 Brockman เป็นคนที่ที่เขียนและตีพิมพ์ The Graphic Artist And
His Design PoblemsAnd Grid Systems in Grphic Design
ปี 1971 Brockman เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ Publications History of the poster and A History of
Visual Communication

การเข้ามาของ International style สู่อเมริกา

ในช่วง 1950 -1960 ได้มีการรวมตัวกันทางด้านการออกแบบขึ้นเป็นหน่วยงาน ในปี 1970 ถือได้ว่าเป็นจุด
สูงสุดทางการออกแบบ ในปี 1970 นี้ นักออกแบบที่ชื่อ Bunnell ได้ชักจูงนักออกแบบจากหลากหลายที่
เช่น Ulm Journals จากเยอรมัน
New Graphic Design จาก swiss
Josef Muller - Brockman
Karl Gerstner
ซึ้งบรอกแมน คือ นักออกแบบที่มีความโดดเด่นที่สุดของ swiss stye พอเขาได้รับเชิญมาร่วมงานในอเมริกาเขาก็ได้นำรูปแบบของ swiss style มามีอิทธิพลในอเมริกา จนทำให้งานออกแบบในอเมริกามีความคล้ายคลึงกับ swiss style จึงทำให้เอมริกามีความก้าวหน้าทางด้านการออกแบบอย่างรวดเร็ว เพราะได้รับอิทธิพล มาจาก swis style ที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป







วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

งานชิ้นแรก เรื่องของดีส

งานวิชา Editorial
เป็นงานที่ทำเพื่อบ่งบอกถึงความเป็นตัวเองออกมา
เป็นที่ทำออกมาให้มีสีแค่สามสีเพื่อให้ดูไม่เยอะจน
เกินไปและชอบงานที่มีสีขาวดำและแดงเป็นส่วนใหญ่
ส่วนเส้นด้านล้างทำขึ้นเพื่อให้ดูวุ่นวาย แต่มีความสนุก
แฝงอยู่เล็กน้อย

วันจันทร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

วิเคราะห์

International Style

หรือ ที่เรียกกันว่า swiss style เป็น กราฟฟิคที่เน้น Typography เป็นส่วนใหญ่จึงทำให้ผลงานส่วนใหญ่ดูไม่ตกยุค ดูเป็นงานที่ร่วมสมัยแม้ว่าจะผ่านมาหลายปีก็ตามไม่เหมือนกับงานกราฟฟิคอื่นๆ และยีงมีการทำเอารูปถ่าย และ Illustrations มาใช้กับTypography โดยเน้นหลัก ซึ้งเป็นพื้นฐานของรูปแบบนี้ แต่ยังมีความเป็นสากลที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
ตัวอย่างผลงาน


Muller-Brockmann, Josef
Schmid, Martzy - Mozart, Bach, Hindemith, 1953

Weniger Larm (Swiss Committee to Stop Noise), 1960

Bill max



Allianz - Kunsthaus Zurich, 1947

Hofmann armin



Schluss mit der Schandung der Heimat, 1955


BAUR, 1965


Stadt Theater Basel (eye and ear), 1962


International Style

International Style

ซึ่งเป็นที่รู้จักของ Swiss Style เป็นรูปแบบของกราฟฟิกดีไซน์ที่ถูกพัฒนาขี้นในสวิตเซอแลนด์ในปี 1950 ที่มีการเน้นย้ำเรื่องความสะอาดตา อ่านออกได้และความมีตัวตน (หรือมีจุดประสงค์) เครื่องหมายรับประกันคุณภาพของรูปแบบนี้ คือ การวางแบบที่ไม่มีส่วนสัด ใช้แบบตารางสี่เหลี่ยม Swiss Style ยังเกี่ยวเนื่องกับการใช้รูปถ่ายแทนที่ illustrations หรือ การวาดรูปเขียน งานในรูปแบบ Inter Typo Style หลายชิ้นนั้นมีจุดเด่นทีTypographyซึ่งเป็นพื้นฐานของรูปแบบนี้เพื่อเพิ่มการใช้ตัวอักษรลงไปด้วย




เป็นโปสเตอร์ออกแบบโดย โจเซฟ มูลเลอร์ บรอทแมน ซึ่งเป็นงานตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงตัวพื้นฐานของสไตล์นี้

กราฟฟิกดีไซน์แบบใหม่ที่มีในสวิตเซอร์แลนด์ในช่วง 1950 ที่กลายเป็นสไตล์โดดเด่นของโลกในช่วงยุค 70 มีความเหมือนเกี่ยวเนื่องกับรูปแบบพื้นฐาน Typography เป็นอย่างมากรูปแบบสไตล์นี้มีจุดที่ชัดเจนคือ ตารางสี่เหลี่ยมคำนวนเพื่อความเรียนร้อย 2.san-serif btype faces (โดยเฉพาะเฮลเวตติก้าที่รู้จักกันตอน 1961)ในรูปแบบของ in a flush left and ragged right 3.ใช้การถ่ายขอวดำแทนการวาดรูป โดยรวมแล้วจะเห็นว่ามีความเรียบง่ายและมีเหตุผล มีโครงสร้างแน่นหนาและเคร่งขรึม ลัดเจนและเป็นรูปธรรมและกลมกลืนกัน รูปแบบการออกแบบนี้ถูกกลั่นขึ้นจากโรงเรียนสอนการออกแบบ 2 แห่ง ในสวิตเซอร์แลนด์ ที่แรกอยู่ใน Basel โดยอาร์มิน ฮอฟแมน และ อีมิล รูเดอร์ อีกที่หนึ่งอยู่ในซูริค ภายใต้การนำของโจเซฟ มูลเลอร์ บรอคแมน

รูปแบบใหม่นี้มีความคล้ายคลึงกับรูปแบบที่สถาบันวัฒนธรรมในสวิต ใช้เป็นโปสเตอร์เพื่อโฆษณายานพาหนะ ชุดภาพจองฮอฟแมนที่ใช้ในโรงภาพยนต์ Basel และงานของบรอคแมนเป็นงาน 2 ชิ้นที่มีเชื่อเสียงที่สุด การเน้นให้เห็นความแตกต่างระหว่างพื้นฐานการออกแบบหลายๆ แบบของฮอฟแมนกับจังหวะและความเร็วแบบที่สังเกตุเห็นได้ของมุลเลอร์ เป็นลักษณะเด่นในการพัฒนาของสไตล์นี์

สไตล์แบบใหม่นี้เหมะสมกับการเพิ่มขึ้นของที่ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการร่วมกันของหลายๆฝ่ายจะต้องใช้สัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความเป็นสากล เช่นงานโอลิมปิกที่ Typography สไตล์สามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม ด้วยความที่มีครูการสอนที่ดีรวมทั้งความเลื่อมใสการใช้สไตล์ Typography จึงแพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปทั่วโลกในอเริกา โรงเรียนสอนออกแบบของ ฮอฟแมนได้ร่วมมือกับโรงเรียนสอนออกแบบเยล ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางชั้นนำของการออกแบบสมัยใหม่ไปทันที

Gerstner, karl Auch du bist liberal (You too are a liberal)


Poretti, A. La Vie est un songe, 1961


Neuberg, Hans. Konstruktive Grafik, 1958






















วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

Hello my name is suvanit

วันแรกของการทำบล๊อก
ทามไปเรื่อยก็เริ่มจารู้เรื่องขึ้น
มาบ้าง และ เริ่มสนุกสนาน
แหะแหะ ............................